Sutiew N.

Sutiew N.
นายสุทิว นวลละออง รหัสนักศึกษา 54243269235

ประวัติส่วนตัว

นายสุทิว นวลละออง
วัน/เดือน/ปีเกิด 8 มิ.ย. 2517
ภูมิลำเนา 2/1 หมู่ 9 ต.หนองกลับ อ.หนองบัว จ.นครสวรรค์
ประวัติการศึกษา
ปี 2536 จบการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์
ปี 2538 จบการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาเทคนิคการผลิต วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์
ที่อยู่ปัจจุบัน 5/67 หมู่ 6 ต.บ้านฉาง อ.บ้านฉาง จ.ระยอง
โทรศัพท์ 081-945-4526 E-Mail sutiew12@gmail.com
ประวัติการทำงาน
ปี 2538-2539 บริษัท TPI ตำแหน่ง พนักงานฝ่ายผลิต
ปี 2539-ปัจจุบัน บริษัท SCG-DOW group ตำแหน่ง Technical Advisor


วันศุกร์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

บทที่ 5 อาชญากรรมคอมพิวเตอร์

1.     อาชญากรรมคอมพิวเตอร์คืออะไร จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่าง
การกระทำผิดทางอาญาในระบบคอมพิวเตอร์ หรือการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อกระทำผิดทางอาญา เช่น ทำลาย เปลี่ยนแปลง หรือขโมยข้อมูลต่าง ๆ
ตัวอย่างของอาชญากรทางคอมพิวเตอร์
1.      พวกเด็กหัดใหม่ (Novice)
2.      พวกวิกลจริต (Deranged persons)
3.      อาชญากรที่รวมกลุ่มกระทำผิด (Organized crime)
4.      อาชญากรอาชีพ (Career)
5.      พวกหัวพัฒนา มีความก้าวหน้า(Con artists)
6.      พวกคลั่งลัทธิ (Dreamer) / พวกช่างคิดช่างฝัน(Ideologues)
7.      ผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านคอมพิวเตอร์อย่างดี (Hacker/Cracker )

2.     อธิบายความหมายของ
2.1            Hacker คือบุคคลผู้มีความสามารถทางด้านคอมพิวเตอร์สูงมาก เป็นผู้เชี่ยวชาญในระบบต่างๆซึ่งนำความสามารถของตนนั้นมาใช้ในการหาช่องโหว่ และ แก้ไขปัญหา(Debug) ข้อผิดพลาดต่างๆของโปรแกรมด้วยจุดประสงค์ดี ตรงกันข้ามกับ แครกเกอร์(Cracker)
2.2            Cracker คือบุคคลผู้มีความสามารถทางด้านคอมพิวเตอร์สูง และเชี่ยวชาญระบบคอมพิวเตอร์มากเช่นเดียวกับแฮกเกอร์ ต่างกันตรงที่ แครกเกอร์นั้นจะใช้ความสามารถของตนในการขโมยข้อมูล, ทำลาย ฯลฯ ที่เป็นไปในทางประสงค์ร้ายต่อระบบ
2.3            สแปม คือ การส่งข้อมูลที่ผู้รับไม่ได้ร้องขอ จนทำให้ผู้รับเกิดความรำคาญ รวมถึงเป็นการก่อกวน และรบกวนผู้อื่นโดยมีจุดประสงค์ที่ต่าง ๆ กันในการส่งสแปม และสแปมนั้นสามารถทำได้ผ่านสื่อหลาย ๆ ชนิด เช่น E-mail, Instant Messaging, Webboard, SMS on Mobile phone ฯลฯ แต่สแปมที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายหนึ่งในนั้นก็คือ SPAM E-mail (สแปมเมล์)
2.4            ม้าโทรจัน คือ โปรแกรมที่ถูกโหลดเข้าไปในคอมพิวเตอร์ เพื่อ ปฎิบัติการ "ล้วงความลับ"เช่น รหัสผ่าน, User Name และข้อมูลส่วนตัวเกี่ยวกับการ Login ระบบ ที่ถูกพิมพ์ผ่านคีย์บอร์ดโดยผู้ใช้งาน 

2.5            สปายแวร์ คือ โปรแกรมที่แฝงเข้ามาในคอมพิวเตอร์ขณะที่คุณท่องอินเตอร์เน็ต ถูกเขียนขึ้นมาสอดส่อง การใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณ และจะทำการเก็บพฤติกรรมการใช้งานอินเตอร์เน็ตของเรา รวมถึงข้อมูลส่วนตัวหลาย ๆ อย่างได้แก่ ชื่อ - นามสกุล , ที่อยู่ , E-Mail  Address และอื่น ๆ ซึ่งอาจจะรวมถึงสิ่งสำคัญต่าง ๆ เช่น Password หรือ หมายเลข บัตรเครดิตของเราด้วยและ Spyware นี้จะทำการส่งข้อมูลดังกล่าวไปในเครื่องปลายทางที่โปรแกรมได้ระบุเอาไว้ ดังนั้นข้อมูลต่าง ๆ ในเครื่องของคุณอาจไม่เป็นความลับอีกต่อไป

3.     จงยกตัวอย่างกฎหมาย ICT หรือ ...คอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง จงอธิบายถึงการกระทำผิดและบทลงโทษ มา 5 ตัวอย่าง.
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิว เตอร์ พ.. ๒๕๕๐ บัญญัติให้การกระทำที่เป็นความผิดและกำหนดบทลงโทษไว้ ในหมวด ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่มาตรา ๕ ถึงมาตรา ๑๖โดยกำหนดองค์ประกอบความผิดและบทลงโทษไว้ตามตัวอย่างด้านล่างนี้
          มาตรา ๕ การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ
เจ้าของยังไม่อนุญาตให้เข้าระบบคอมพิวเตอร์ของเขา แล้วเราแอบเข้าไปดู
-        จำคุก 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๖ การเปิดเผยมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ท ี่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะโดยมิชอบ
ข้อมูลของเราเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ แล้วมีคนแอบไปล้วงข้อมูลของเาออกมา
-        จำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
          มาตรา ๗ การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์
ข้อมูลของเราอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ของเรา แต่มีผู้อื่นเข้าไปแก้ข้อมูลของเราโดยยังไม่ได้รับอนุญาต
-        จำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน100,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
          มาตรา ๘ การดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ 
เขาส่งข้อมูลหากันผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบส่วนตัว แล้วเราไปดักจับข้อมูลของเขา    
-        จำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

          มาตรา ๙ การทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติมข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ
-        จำคุกไม่เกิน 5 ปีหรือปรับไม่เกิน 100,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ


วันจันทร์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2557

บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลบนระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

1.สื่อกลางประเภทมีสายแต่ละประเภท มีข้อดีและข้อเสียอย่างไรบ้าง จงเปรียบเทียบ
          สื่อที่จัดอยู่ในการสื่อสารแบบมีสายที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ได้แก่
- สายทองแดงแบบไม่หุ้มฉนวน (Unshielded Twisted Pair)
ข้อดีของสาย UTP- ราคาถูก
- ติดตั้งง่ายเนื่องจากน้ำหนักเบา
- มีความยืดหยุ่น และสามารถโค้งงอได้มาก
ข้อเสียของสาย UTP
- ไม่เหมาะในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ที่ห่างไกลมาก เพราะสัญญาณที่วิ่งบนสายจะถูกลดทอนลงไปตามความยาวของสาย (มีความยาวของสายในการเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 100 เมตร)
- สายทองแดงแบบหุ้มฉนวน (Shield Twisted Pair)
ข้อดีของสาย STP
- ส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงกว่า UTP
- ป้องกันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และคลื่นวิทยุ
ข้อเสียของสาย STP
- มีขนาดใหญ่และไม่ค่อยยืดหยุ่นในการงอพับสายมากนัก
- ราคาแพงกว่าสาย UTP


- สายโคแอคเชียล (Coaxial)
ข้อดี
1. ราคาถูก
2. มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน
3. ติดตั้งง่าย และมีน้ำหนักเบา
ข้อเสีย
1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย 
2. ระยะทางจำกัด
- ใยแก้วนำแสง (Optic Fiber)
ข้อดี
1. ส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูง
2. ไม่มีการรบกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้า
3. ส่งข้อมูลได้ในปริมาณมาก
ข้อเสีย
1. มีราคาแพงกว่าสายส่งข้อมูลแบบสายคู่ตีเกลียวและโคแอกเชียล
2. ต้องใช้ความชำนาญในการติดตั้ง
3. มีค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสูงกว่า สายคู่ตีเกลียวและโคแอกเชียล

2.การนำระบบเครือข่ายมาใช้ในองค์กร มีประโยชน์อย่างไร
          สามารถนำมาใช้ในองค์กรเพื่อช่วยในการบริหารองค์กรให้มีความเจริญก้าวหน้า ทันสมัย เพราะระบบเครือข่ายช่วยให้การส่งถึงข้อมูลทำได้รวดเร็ว แม่นยำ ทำให้สมาชิกในองค์กรสามารถตอบสนองนโยบายขององค์กรได้ทันสถานการณ์

3.หากนำระบบเครือข่ายมาใช้ในองค์กรนักศึกษาจะเลือกรูปแบบของระบบเครือข่าย (LAN Topology) แบบใดเพราะอะไร
          รูปแบบการเชื่อมต่อแบบไร้สาย (Wireless LAN) สำหรับห้องประชุมเพราะผู้เข้าร่วมประชุมจำเป็นต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ซึ่งจะทำให้สะดวกกับผู้ใช้งานและไม่มีสายเคเบิ้ลเกะกะ
          รูปแบบการเชื่อมต่อแบบดาว(Star) สำหรับโต๊ะทำงานที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ เพราะว่าสัญญาณอิเตอร์เน็ตจะเสถียรกว่าแบบไร้สาย
4.อินเทอร์เน็ตมีข้อดีต่อระบบการศึกษาไทยอย่างไร
          เป็นแหล่งเรียนรู้ สืบค้นข้อมูลได้ทุกวิชาที่ต้องการศึกษา สามารถค้นหาคำตอบที่ต้องการได้รวดเร็ว ทำให้นักเรียนมีความเข้าใจในเนื้อหาของวิชาเรียนมากกว่าเดิม ด้านการศึกษา เราสามารถต่อเข้ากับอินเตอร์เนตเพื่อค้นคว้าหาข้อมูลได้ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลทางวิชาการจากที่ต่าง ๆ ซึ่งในกรณีนี้ อินเตอร์เนตจะทำหน้าที่เหมือนห้องสมุดขนาดยักษ์ ส่งข้อมูลที่เราต้อการมาให้ถึงบนจอคอมพิวเตอร์ของเราในเวลาไม่กี่วินาทีจากแหล่งข้อมูลทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์, วิศวกรรม, ศิลปกรรม, สังคมศาสตร์, กฎหมายและอื่น ๆ นักศึกษามหาวิทยาลัยสามารถติดต่อกับมหาวิทยาลัยอื่น ๆ เพื่อค้นหาข้อมูลที่กำลังศึกษาอยู่ได้ทั้งข้อมูลที่เป็นตัวอักษร, ภาพและเสียงหรือแม้แต่มัลติมิเดียต่าง ๆ

วันอาทิตย์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2557

บทที่ 3 การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์

1.ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิคส์ แบ่งได้กี่วิธี อะไรบ้าง
ตอบ แบ่งได้ 3 วิธี ดังนี้
1.     ขั้นเตรียมข้อมูล
2.      ขั้นตอนการประมวลผล
3.      ขั้นตอนการแสดงผลลัพธ์
2.จงเรียงลำดับโครงสร้างข้อมูลจากขนาดเล็กไปใหญ่ พร้อมอธิบายความหมายของโครงสร้างข้อมูลแต่ละแบบ
1.     บิต(Bit) เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูล เลขฐาน 2 คือ 0, 1 โดย 8 bit = 1 Byte
2.     ไบต์(Byte) การนำบิตมารวมกันเรียกว่า ตัวอักขระ, ตัวอักษร เช่น A,
3.     ฟิลด์(Field) การนาไบต์หลาย ๆ ไปมารวมกันเรียกว่า เขตข้อมูลเช่น Rat, หนู
4.     เรคอร์ด(Record) การนาฟิลด์หลาย ๆ ฟิลด์มารวมกันเรียกว่า ระเบียน
5.     ไฟล์(File)การเรคอร์ดหลาย ๆ เรคอร์ดมารวมกันเรียกว่า แฟ้มข้อมูล
6.     ฐานข้อมูล(Database)การนาไฟล์หลาย ไฟล์มารวมกันเรียกว่า ฐานข้อมูล

3.หากนำเอาระบบฐานข้อมูลมาใช้ในหน่วยงานที่นักศึกษาทำงานอยู่ สามารถมีระบบใดบ้าง และระบบฐานข้อมูลนั้นมีประโยชน์ต่อองค์กรอย่างไร
ในหน่วยงานที่ผมทำงานอยู่มีการนำเอาระบบฐานข้อมูลตามรูปแบบจำลองข้อมูลแบบเครือข่ายมาใช้
ระบบฐานข้อมูลแบบนี้มีประโยชน์ต่อองค์กรคือ
- ลดความซ้าซ้อนของข้อมูล
- รักษาความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล
- กาหนดระบบรักษาความปลอดภัย
- กาหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกันได้
4.จงอธิบายความแตกต่างระหว่างการประมวลผลข้อมูลแบบแบชและแบบเรียลไทม์
Batch Processingเป็นวิธีการประมวลผลของระบบคอมพิวเตอร์แบบกลุ่ม คือการรวบรวมข้อมูล และแบ่งแยกข้อมูลออกเป็นกลุ่ม ๆ แล้วจึงส่งเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ทำการประมวลผลครั้งเดียวจะไม่มีการโต้ตอบกันระหว่างผู้ใช้งานกับเครื่องคอมพิวเตอร์
Real Time Processingเป็นวิธีการประมวลผลของระบบคอมพิวเตอร์แบบเวลาจริง คือการประมวลผลที่เมื่อทำการส่งข้อมูลเข้าไปในคอมพิวเตอร์แล้วจะได้ผลลัพธ์ออกมาทันทีแสดงผลข้อมูลทันทีทันใด โดยแสดงผลทาง Output เช่น การใช้บริการบัตรเครดิตตามห้างร้านต่าง ๆ

บทที่ 2 องค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์


1. จงอธิบายความหมาย พร้อมยกตัวอย่างของคาดังต่อไปนี้
- Hardware เป็น ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ หมายถึง ส่วนที่เป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประกอบขึ้นมาใช้งานได้ ซึ่งสามารถแบ่งส่วนประกอบได้ 3 ส่วนที่สาคัญ คือ
1. อุปกรณ์รับข้อมูล เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการรับข้อมูลเข้าไปสู่หน่วยประมวลผลกลาง ผู้ใช้สามารถป้อนข้อมูลคาสั่งต่างๆ ผ่านอุปกรณ์ เหล่านี้เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานได้ ได้แก่
- จอสัมผัส (Touch Screens) เป็นอุปกรณ์สามารถทางานได้ทั้งการรับและการแสดงผลการรับข้อมูลจะใช้นิ้วสัมผัสที่หน้าจอ เพื่อเลือกเมนู เช่น หน้าจอของเครื่อง ATM (Automatic Teller Machines) และเครื่องที่ใช้ในร้านซูเปอร์มาร์เก็ต เป็นต้น
- จอยสติกส์(Joy Stick) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่รับข้อมูลมีลักษณะเป็นคันโยกขึ้นลง ซ้ายขวา เพื่อควบคุมตาแหน่งของตัวชี้ หลักการทางานเช่นเดียวกับเมาส์นิยมใช้ในการเล่นเกมส์                  
2. อุปกรณ์ของหน่วยประมวลผล การประมวลผลของคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นจากการทางานประสานกันของหน่วยประมวลผลและหน่วยความจาหลักหรือหน่วยความจาภายใน โดยหน่วยประมวลผลจะทาหน้าที่ควบคุมและปฏิบัติการตามขั้นตอนของโปรแกรม ในขณะที่หน่วยความจาจะเป็นที่พักของโปรแกรม ข้อมูลนาเข้า และผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลก่อนนาออกไปแสดงทางอุปกรณ์แสดงผล โดยมีส่วนสาคัญ 2 ส่วน
- ส่วนควบคุม (Control Unit) ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ทุกอย่างให้เป็นไปตามคาสั่ง เช่น ควบคุมให้หน่วยรับข้อมูลอ่านข้อมูลเข้า, หน่วยคำานวณ ทำาการคำานวณ โดยคำาสั่งนั้นจะได้รับจากหน่วยความจำและหน่วยควบคุมจะแปลความหมายแล้วส่งคำสั่งนั้นไปให้หน่วยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ส่วนคำนวณและเปรียบเทียบ (Arithmetic and Logic Unit) การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร การเปรียบเทียบข้อมูล เช่น เท่ากับ ไม่เท่ากับ มากกว่า น้อยกว่า
3. อุปกรณ์แสดงผล เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่รับผลจากการประมวลผลที่เก็บไว้ในหน่วยความจาหลัก ออกแสดงตามลักษณะของอุปกรณ์ ซึ่งมีอยู่ไม่กี่ประเภทที่นิยมใช้ คือ
- จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์ที่รับสัญญาณจากการ์ดแสดงผล มาแสดงเป็นภาพบน จอภาพ
- เครื่องพิมพ์ เป็นอุปกรณ์ที่ต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์โดยผ่านพอร์ตขนานหรือพอร์ต USB เพื่อทาหน้าที่แสดงผลที่ได้จากการ ประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในรูปของอักษร
- ลำโพง (Speaker) หน้าที่หลักคือ เมื่อการ์ดเสียงเปลี่ยนสัญญาณเสียงดิจิตอลให้เป็นกระแสไฟฟ้า ผ่านมายังลำโพงทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของแม่เหล็กและเกิดการสั่นสะเทือนของลำโพง มีผลทำให้เกิดเสียงในระดับต่างๆ

-Software ซอฟท์แวร์ เป็นส่วนของโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง เพื่อที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้ ซึ่งโปรแกรมดังกล่าวอาจจะเขียนอยู่ในรูปของภาษาเครื่องที่จะทาให้เครื่องเข้าใจและทำงานได้โดยตรง
1. ซอฟต์แวร์ระบบมีด้วยกันดังนี้ ซอฟต์แวร์ระบบ-ระบบปฏิบัติการหรือควบคุมเครื่อง, ยูติลิตี้ โปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่อง, ดีไวท์ไดร์ฟเวอร์ โปรแกรมไดร์ฟเวอร์ของอุปกรณ์ต่อพ่วง, ตัวแปลภาษา-โปรแกรมแปลภาษาเครื่องให้เป็นภาษาระดับสูง
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ แบ่งได้เป็น 2 ประเภทดังนี้
- ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน เป็น Software ที่ใช้สำหรับงานเฉพาะด้าน เช่น Software สำหรับงานธนาคารการฝากถอนเงิน Software สำหรับงานทะเบียนนักเรียน ซอฟต์แวร์คิดภาษี ซอฟต์แวร์การให้บริการร้าน Seven ฯลฯ
- ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป โดยในซอฟต์แวร์ 1 ตัวมีความสามารถในการทางานได้หลายอย่าง เช่น ซอฟต์แวร์งานด้านเอกสาร (Microsoft Word) มีความสามารถในการสร้างงานเอกสารต่าง ๆ จัดทำเอกสารรายงาน จัดทาแผ่นพับ จัดทำหนังสือเวียน จัดทำสื่อสิ่งพิมพ์
-People ware หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้
1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทาการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน
3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว
4. ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทางานได้ตามที่ต้องการ
-Data ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงหรือสาระต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับงานที่ปฏิบัติ อาจเป็นตัวเลขหรือข้อความที่เกิดขึ้นจาก การ ดำเนินงาน หรือที่ได้จากหน่วยงานอื่น ๆ ข้อมูลเหล่านี้ ยังไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ ในการตัดสินใจได้ทันที จะนำไปใช้ได้ก็ต่อเมื่อผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว
-Information สารสนเทศ คือสิ่งที่ได้จากการประมวลผลของข้อมูล เพื่อให้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในด้านการวางแผน การพัฒนา การควบคุม และการตัดสินใจ สารสนเทศที่ดีจะต้องมีความถูกต้อง สมบูรณ์ น่าเชื่อถือ มีความทันสมัย โดยมีรูปแบบการนำเสนอที่สวยงาม ชัดเจน น่าสนใจ และเข้าใจได้ง่าย
2. หากนักศึกษาเป็นเจ้าของธุรกิจ ดังต่อไปนี้ (เลือก 1 ธุรกิจ) จะนำองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ ได้แก่ Hardware, Software และ People ware ใดมาใช้ในธุรกิจบ้าง เพราะเหตุใดจงอธิบาย
-ร้านขายของสะดวกซื้อ และจะนำองค์ประกอบคอมพิวเตอร์มาใช้ในร้านได้แก่
1. Hardware คือเครื่องคิดเงินแบบที่มีลิ้นชักเก็บเงินและทอนเงินได้ถูกต้องก่อนที่จะเปิด-ปิดลิ้นชัก
2. Software คือโปรแกรมสั่งเปิด-ปิดลิ้นชัก เพื่อรับและทอนเงินได้ถูกต้อง ตามรายการราคาสินค้าที่ยิงบาร์โค้ต
3. People ware คือพนักงานเก็บเงินที่เค้าเตอร์ โดยสามารถใช้เครื่องคิดเงินแบบที่มีลิ้นชักเก็บเงินและทอนเงินได้ถูกต้องก่อนที่จะเปิด-ปิดลิ้นชัก


3. ให้นักศึกษา แสดงข้อมูล จำนวน 1 ชุด พร้อมทั้งแสดงในรูปแบบของระบบสารสนเทศ
ข้อมูล
กวาง
50
ตัว
 เสือ
25
ตัว
สิงห์โต
8
ตัว
ช้าง
9
ตัว
แรด
3
ตัว
ฮิปโป
6
ตัว
ม้าลาย
12
ตัว
ยีราฟ
7
ตัว
แพะภูเขา
32
ตัว